AY คาเฟ่

AY คาเฟ่ หรือ อ้าย เชียงรายเป็นจังหวัดต้นๆในดวงใจของนักท่องเที่ยวหลายคนที่จะเลือกมาพักผ่อนช่วงวันหยุด ทั้งในช่วงฤดูฝนที่ทำให้เห็นหมอกจางๆ หรือฤดูหนาวมารับลมหนาวชิวๆ แต่วันนี้เราจะมาแนะนำร้านกาแฟร้านหนึ่งที่เป็นที่ยอดฮิตมากในตอนนี้

ร้าน AY คาเฟ่ น่ารักและดูอบอุ่นให้ความรู้สึกเหมือนอยู่บ้าน

ภายในตกแต่งด้วยความเรียบง่ายด้วยเฟอร์นิเจอร์ไม้ และหวาย แต่ก็แอบซ่อนความเก๋ในแต่ละจุด สามารถถ่ายรูปอัพลงโซเชียลได้ไม่อายใครเลยเพราะสวยมาก มีหลากหลายมุมมาก เช่นมุมในสวนหญ้า,มุมตรงระดบียงบนตัวบ้านที่มีเก้าอีกวางยื่นออกไป เก๋ไม่เหมือนใคร และมีมุมไฮไลท์ที่ใครไปต้องไปถ่ายให้ได้คือ มุมตรงบ่อน้ำขนาดใหญ่มี่มีเก้าอีกวางไว้อยู่2ตัว ถ้านั่งแล้วจะเห็นถึงบรรยากาศธรรมชาติแบบเต็มๆ เกือบทุกมุมในร้านทำให้เรารู้สึกอบอุ่นและผ่อนคลายจากธรรมชาติ

* * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * *

AY คาเฟ่
AY คาเฟ่

* * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * *

โซนเคาน์เตอร์นั่งที่มีหน้าต่างกระจกแบบยกขึ้นแล้วใช้ไม้ค้ำไว้เก๋มาก นอกจากโซนที่นั่งภายในตัวบ้าน ยังมีมุมนั่งเล่นบริเวณสนามหญ้า และพื้นที่โดยรอบ ที่จัดวางเก้าอี้ได้น่านั่งไม่แพ้กัน เหมือนนั่งเล่นในสวนของบ้าน  มีมุมบ้านหลังน้อยและเก้าอี้หวายสูงได้ฟีลชิคคูลมาก และอีกมุมตกแต่งแบบจีนนิดๆ

เมนูต่างๆภายในร้านอาจมีไม่มากนัก แต่แต่ละเมนูนั้นอร่อยจับใจเลยทีเดียว นอกจากมีน้ำแล้วยังมีขนมต่างๆรวมถึงขนมจีบ ซาลาเปาด้วย กาแฟบ้านอ้าย ที่เลือกใช้เทคนิคลองโก้เอสเปรสโซ่ในการสกัดกาแฟ เพื่อให้ได้รสชาติที่เข้มข้นของกาแฟบวกกับความหวานของน้ำตาลมะพร้าวได้ความมันของนม ซึ่งสามารถดื่มได้ทั้งร้อนเติมนมแบบโอยั้ว หรือดื่มแบบเย็นเหมือนโอเลี้ยงนั่นเอง

หากใครอยากลิ้มลองความเข้มข้นหอมมันของกาแฟบ้านอ้ายที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวไม่เหมือนใครก็สามารถเข้ามาเติมความสดชื่นกัน นอกจากกาแฟแล้วอีกอย่างหนึ่งที่อยากแนะนำคือ นมสดคาราเมลเฉาก๊วย เป็นไฮไลท์อีกอย่างหนึ่งที่พบาดไม่ได้ นมคาราเมลที่หวานหอมแต่ใหวานเกินไปทอปหน้าด้วยเฉากก๊วยพอดีคำปต่นุ่มหนึบหนับอร่อยสุดๆ

คาเฟ่สวยๆ บนเขาค้อ Pino Lette

เครดิต : บาคาร่าออนไลน์

* * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * *